วีรยุทธ สระจูม

วันศุกร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2551
แผนกที่ฝึกงาน กองแผนและงบประมาณ
งานในลักษณะที่ปฎิบัติคือ ส่วนใหญ่เป็นงานเอกสาร แก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูลแผนดำเนินโครงการต่าง ๆ
จัดเรียงเอกสารหรือ รูปเล่ม บันทึกข้อมูลเอกสาร ส่งหนังสือทางราชการ
และเป็นคอมพิวเตอร์ ในโปรแกรม เอ็กเซลส่วนมาก
จัดเรียงเอกสารหรือ รูปเล่ม บันทึกข้อมูลเอกสาร ส่งหนังสือทางราชการ
และเป็นคอมพิวเตอร์ ในโปรแกรม เอ็กเซลส่วนมาก
การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ศึกษาเกี่ยวกับอะไรบ้าง
1. นโยบายสาธารณะ
2. การปฎิรูประบบราชการ
3. องค์การกับการบริการสาธารณะ
4. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
5. การคลังและงบประมาณ
6. ธรรมาภิบาล
2. การปฎิรูประบบราชการ
3. องค์การกับการบริการสาธารณะ
4. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
5. การคลังและงบประมาณ
6. ธรรมาภิบาล
นโยบายสาธารณะ (public policy)
แนวทางกิจกรรม/การกระทำ/การเลือกตัดสินใจของรัฐบาลซึ่งรัฐบาลได้ทำการตัดสินใจและกำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้นำให้มีกิจกรรม/การกระทำต่างๆ เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ โดยมรการวางแผน การจัดทำโครงการ วิธีการบริหารหรือกระบวนการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ด้วยวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง และความต้องการของประชาชน/ผู้ใช้บริการในแต่ละเรื่อง
การปฏิรูประบบราชการ
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของระบบราชการ ตั้งแต่ บทบาทของรัฐโครงสร้างอํานาจในระดับต่างๆโครงสร้างรูปแบบองค์การ ระบบการบริหาร และวิธีการทํางาน ระบบงบประมาณระบบบริหารบุคคล กฎหมาย กฎระเบียบ วัฒนธรรมและค่านิยมการปฏิรูประบบราชการเพื่อทําให้ราชการมีสมรรถนะสูง เป็นระบบที่มีคุณภาพ และคุณธรรม เป็นระบบราชการที่ทันสมัย ทันการณ์ มีความเป็นสากลตลอดจนเป็นกลไกการบริหาร และจัดการประเทศให้สามารถแข่งขันในระดับโลกได้ และการปฏิรูประบบราชการจะเป็นระบบที่สร้างให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีนิสัยการทํางานอย่างผู้รู้จริง ทําจริง มีผลงาน ขยัน มีความสามารถ ซื่อสัตย์ สุจริต กล้าคิด กล้าทํา สร้างสรรค์ ปฏิบัติงานอย่าง มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ เป็นที่เชื่อถือ ศรัทธาของประชาชน
องค์การ มีความหมาย 3 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
1. องค์การทางสังคม 2. องค์การทางราชการ 3. องค์การทางเอกชน
องค์การ คือ การรวมตัวกันของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันในการทำกิจกรรม หรือ งานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยอาศัยกระบวนการจัดโครงสร้างของกิจกรรมหรืองานนั้น ออกเป็นประเภทต่าง ๆ เพื่อแบ่งงานให้แก่สมาชิกในองค์การดำเนินการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย
องค์การ คือ การรวมตัวกันของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันในการทำกิจกรรม หรือ งานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยอาศัยกระบวนการจัดโครงสร้างของกิจกรรมหรืองานนั้น ออกเป็นประเภทต่าง ๆ เพื่อแบ่งงานให้แก่สมาชิกในองค์การดำเนินการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย
วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551
องค์ประกอบแห่งรัฐชาติและสิทธิความเป็นมนุษย์
องค์ประกอบแห่งรัฐ มี 4 ประเภท
1. ราษฎร (พอสมควร)
2. อาณาเขต(แน่นอน)
3. อำนาจอธิปไตย (อำนาจสูงสุด) ใช้อย่างไร: The rule of law อำนาจของปวงชน บางตำรามี
4. รัฐบาล ...
สิทธิ หมายถึงอำนาจหรือประโยชน์ที่กฎหมายให้ความคุ้มครองให้ เช่น หากเรามีสิทธิในการซื้อสินค้าจากตลาดเมื่อชำระเงินให้แม่ค้า หากได้ชำระเงินแล้ว ผู้ใดจะบังคับมิให้เราซื้อได้ไม่ หากบังคับ กฎหมายย่อมคุ้มครอง การได้รับสิทธิตามกฎหมายนั้นย่อมไม่ก่อให้เกิดความอยุติธรรมกับผู้มีส่วนได้เสียนั้นๆ
ในทางนิติศาสตร์และกฎหมาย สิทธิ หมายถึง สิทธิตามกฎหมายหรือศีลธรรม ที่จะทำหรือไม่ทำบางอย่าง หรือที่จะได้รับหรือไม่ได้รับบางอย่างในสังคมอารยะ (civil society) สิทธิทำหน้าที่เหมือนกฎในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
สิทธิมนุษยชน หมายถึงแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์ที่ว่า มนุษย์นั้นมีสิทธิหรือสถานะสากล ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับขอบเขตของกฎหมาย หรือปัจจัยท้องถิ่นอื่นใด เช่น เชื้อชาติ หรือ สัญชาติ
จาก ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 1 กล่าวว่า "มนุษยทั้งหลายทั้งหลายเกิดมามีอิสระเสรี เท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนได้รับการประสิทธิ์ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันอย่างฉันพี่น้อง"[1]
ความดำรงอยู่ ความถูกต้อง และเนื้อหาของสิทธิมนุษยชน เป็นหัวข้อที่เป็นที่โต้เถียงกันมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในทางปรัชญาและรัฐศาสตร์ตามกฎหมายแล้ว สิทธิมนุษยชนได้ถูกบัญญัติเอาไว้ในกฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศและในกฎหมายภายในของหลายรัฐ อย่างไรก็ตาม สำหรับคนจำนวนมากแล้ว หลักการของสิทธิมนุษยชนนั้นกินขอบเขตเลยไปกว่ากฎหมาย และก่อร่างขึ้นเป็นหลักศีลธรรมพื้นฐานสำหรับวางระเบียบภูมิศาสตร์การเมืองร่วมสมัย สำหรับคนกลุ่มนี้แล้ว สิทธิมนุษยชนคือความเสมอภาคในอุดมคติ
1. ราษฎร (พอสมควร)
2. อาณาเขต(แน่นอน)
3. อำนาจอธิปไตย (อำนาจสูงสุด) ใช้อย่างไร: The rule of law อำนาจของปวงชน บางตำรามี
4. รัฐบาล ...
สิทธิ หมายถึงอำนาจหรือประโยชน์ที่กฎหมายให้ความคุ้มครองให้ เช่น หากเรามีสิทธิในการซื้อสินค้าจากตลาดเมื่อชำระเงินให้แม่ค้า หากได้ชำระเงินแล้ว ผู้ใดจะบังคับมิให้เราซื้อได้ไม่ หากบังคับ กฎหมายย่อมคุ้มครอง การได้รับสิทธิตามกฎหมายนั้นย่อมไม่ก่อให้เกิดความอยุติธรรมกับผู้มีส่วนได้เสียนั้นๆ
ในทางนิติศาสตร์และกฎหมาย สิทธิ หมายถึง สิทธิตามกฎหมายหรือศีลธรรม ที่จะทำหรือไม่ทำบางอย่าง หรือที่จะได้รับหรือไม่ได้รับบางอย่างในสังคมอารยะ (civil society) สิทธิทำหน้าที่เหมือนกฎในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
สิทธิมนุษยชน หมายถึงแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์ที่ว่า มนุษย์นั้นมีสิทธิหรือสถานะสากล ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับขอบเขตของกฎหมาย หรือปัจจัยท้องถิ่นอื่นใด เช่น เชื้อชาติ หรือ สัญชาติ
จาก ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 1 กล่าวว่า "มนุษยทั้งหลายทั้งหลายเกิดมามีอิสระเสรี เท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนได้รับการประสิทธิ์ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันอย่างฉันพี่น้อง"[1]
ความดำรงอยู่ ความถูกต้อง และเนื้อหาของสิทธิมนุษยชน เป็นหัวข้อที่เป็นที่โต้เถียงกันมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในทางปรัชญาและรัฐศาสตร์ตามกฎหมายแล้ว สิทธิมนุษยชนได้ถูกบัญญัติเอาไว้ในกฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศและในกฎหมายภายในของหลายรัฐ อย่างไรก็ตาม สำหรับคนจำนวนมากแล้ว หลักการของสิทธิมนุษยชนนั้นกินขอบเขตเลยไปกว่ากฎหมาย และก่อร่างขึ้นเป็นหลักศีลธรรมพื้นฐานสำหรับวางระเบียบภูมิศาสตร์การเมืองร่วมสมัย สำหรับคนกลุ่มนี้แล้ว สิทธิมนุษยชนคือความเสมอภาคในอุดมคติ
วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551
2ปรัญญาและวิสัยทัศน์
ปรัญญา......................................
วิสัยทัศน์....................................
วิสัยทัศน์....................................
3.อำนาจหน้าที่

(1) ตราข้อบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย
(2) จัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และประสานการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
(3) สนับสนุนสภาตำบลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น
(4) ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของสภาตำบล และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
(5) แบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แต่สภาตำบล และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
(6) อำนาจหน้าที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2494 เฉพาะภายในเขตสภาตำบล
(7) คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(8) จัดทำกิจการใด ๆ อันเป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด และกิจการนั้นเป็นการ สมควรให้ ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดำเนินการหรือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด จัดทำ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(9) จัดทำกิจการอื่นใดตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด(10)บรรดาอำนาจหน้าที่ใดซึ่งเป็นของราชการส่วนกลาง หรือราชการส่วนภูมิภาคอาจมอบให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดปฏิบัติได้ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(2) จัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และประสานการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
(3) สนับสนุนสภาตำบลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น
(4) ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของสภาตำบล และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
(5) แบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แต่สภาตำบล และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
(6) อำนาจหน้าที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2494 เฉพาะภายในเขตสภาตำบล
(7) คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(8) จัดทำกิจการใด ๆ อันเป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด และกิจการนั้นเป็นการ สมควรให้ ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดำเนินการหรือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด จัดทำ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(9) จัดทำกิจการอื่นใดตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด(10)บรรดาอำนาจหน้าที่ใดซึ่งเป็นของราชการส่วนกลาง หรือราชการส่วนภูมิภาคอาจมอบให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดปฏิบัติได้ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ศักยภาพในการเรียนคอมพิวเตอร์
ทำให้ผมได้เรียนรู้ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารได้ดีขึ้น เพิ่มความสนใจในการใช้คอมพิวเตอร์ เพิ่มศักยภาพแก่การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อไปไปใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพต่อไป นำไปสู่ประสบการณ์และการเรียนรู้ต่อไปในภายภาคหน้า
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)